น้ำ ต บ โท นี่ โม ลี่

July 28, 2021
  1. 3.2 การย่อยของสัตว์ - scienceinging
  2. สัตว์เคี้ยวเอื้อง

การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดที่มีกระดูกสันหลัง 2.

3.2 การย่อยของสัตว์ - scienceinging

สัตว์บางชนิด เช่น ฟองน้ำ ไม่มีระบบทางเดินอาหาร แต่จะมีเซลล์พิเศษทำหน้าที่จับอาหารเข้าสู่เซลล์แล้วทำการย่อยภายในเซลล์สัตว์บางชนิดมี ระบบทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ เนื่องจากมีช่องเปิดทางเดียว เช่น ไฮดรา พลา นา เรีย สัตว์บางชนิดเช่น ไส้เดือนดิน แมลงและสัตว์มีกระดูกสันหลังมี ระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ คือมีปากและทวารหนัก ระบบทางเดินอาหารของสัตว์เหล่านี้จะมีโครงสร้างรายละเอียดบางอย่างแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของอาหารและพฤติกรรมการกิน 1. การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดที่ไม่มีกระดูกสันหลัง 1.

  • Apple pencil รุ่น ที่ 2
  • สัตว์เคี้ยวเอื้อง
  • ต - วิกิพจนานุกรม
  • 3.2 การย่อยของสัตว์ - scienceinging
  • เอซี มิลาน ชุดแชมป์เซเรีย อา 2010/11 ตอนนี้พวกเขาอยู่ไหน? | Goal.com
  • งาน big motor sale 2018 live

3 การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดกินพืช ได้แก่ วัว ควาย จะมีโครงสร้างของทางเดินอาหารแตกต่างจากคนและสัตว์กินเนื้ออื่นๆ อยู่ 2 ประการ คือ 1. การมีทางเดินอาหารที่ยาวมากๆ ยาวถึง 40 เมตร ทำให้ระยะเวลาในการย่อยและการดูดซึมสารอาหารนานยิ่งขึ้น กระเพาะอาหารของวัวและควายแบ่งออกเป็น 4 ส่วน มีชื่อและลักษณะเฉพาะ ได้แก่ 1. 1 กระเพาะผ้าขี้ริ้วหรือรูเมน (Rumen) เป็นกระเพาะอาหารที่มีจุลินทรีย์ พวก แบคทีเรียและ โพรโทซัวจำนวนมาก จุลินทรีย์พวกนี้สร้างน้ำย่อยเซลลูเลส ย่อยสลายเซลลูโลสจากพืชที่กินเข้าไปและสามารถสำรอกอาหารออกมาเคี้ยวเอื้องเป็นครั้งคราวเพื่อบดเส้นใยให้ละเอียดจึงเรียกสัตว์พวกนี้ว่าสัตว์เคี้ยวเอื้อง 1. 2 กระเพาะรังผึ้งหรือเรติคิวลัม (Reticulum) ทำหน้าที่ย่อยนม เมื่อโค กระบือยัง เล็กอยู่ และมีจุลินทรีย์เช่นเดียวกับกระเพาะอาหารส่วนรูเมน 1. 3 กระเพาะสามสิบกลีบหรือโอมาซัม (Omasum) ทำหน้าที่ผสมและบดอาหาร นอกจากนี้ยังดูดซึมและซับน้ำจากรูเมนอีกด้วย 1. 4 กระเพาะจริงหรืออะโบมาซัม (Abomasum) มีการย่อยอาหารและจุลินทรีย์ไป พร้อมๆกัน แล้วจึงส่งต่อไปยังลำไส้เล็กเพื่อย่อยให้สมบูรณ์ เมื่ออาหารผ่านเข้าสู่ลำไส้เล็กตอนต้น จะมีการย่อยโปรตีน ไขมันและแป้งจากน้ำย่อยจากตับอ่อนและน้ำดีจากตับ จากนั้นก็ดูดซึมเข้าสู่ระบบหมุนเวียนต่อไป ทางเดินอาหารของวัว กระเพาะอาหารของวัวซึ่งแบ่งได้เป็น 4 ส่วน Rumen, Reticulum, Omasum และ Abomasum ในปัจจุบันมีการนำเอาแบคทีเรียและโพรโทซัวมาผสมในอาหารที่ใช้เลี้ยงสัตว์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยและการดูดซึมอาหารของสัตว์ 2.

สัตว์เคี้ยวเอื้อง

หัวเรื่อง และคำสำคัญ สัตว์เคี้ยวเอื้อง, สัตว์, เคี้ยวเอื้อง ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท. บทความ รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท. สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล วันที่เสร็จ วันพุธ, 25 สิงหาคม 2553 สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา ชีววิทยา ระดับชั้น ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 ม. 5 ม. 6 ช่วงชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มเป้าหมาย ครู นักเรียน บุคคลทั่วไป ดูเพิ่มเติม เพิ่มในรายการโปรด คุณอาจจะสนใจ Hits (22931) แมงมุมตีอก…. โชคลางหรือธรรมชาติ แมงมุมที่บางครั้งเกาะหรือเดินอยู่ตามฝาผนังบ้านเรา บางครั้งเกิดอะไรขึ... Hits (16740) การทำความเข้าใจถึงประสบการณ์ใกล้ตายของมนุษย์ เป็นเรื่องที่ยากเช่นเดียวกับการตอบคำถามว่าเกิดอะไรขึ้น... Hits (31372) เราอาจโตกันมากับความรู้ที่ว่า โลกของเรามีด้วยกันทั้งหมด 7 ทวีป คือ ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา...

เรียกว่า รูเมน ( Rumen) หรือที่เราเรียกว่า กระเพาะผ้าขี้ริ้ว ครับ คนที่ชอบรับประทานต้มเครื่องในคงจะเคยเห็นนะครับ เป็นกระเพาะส่วนแรกมีขนาดใหญ่มาก อาหารหรือหญ้าที่กินเข้าไปจะอยู่ในกระเพาะนี้ก่อน ภายในกระเพาะนี้ไม่มีเอนไซม์มาช่วยย่อยครับ แต่มีจุลินทรีย์ต่างๆหลายชนิด มาช่วยย่อยในเบื้องต้น เช่น ย่อยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แล้วจุลินทรีย์ก็จะสะสมหรือใช้อาหารที่ย่อยแล้วเก็บไว้ภายในเซลล์ของจุลินทรีย์ เพื่อสร้างส่วนประกอบต่างๆของเซลล์จุลินทรีย์ ต่อมาหญ้าที่กินรวมทั้งจุลินทรีย์ก็จะเคลื่อนมาที่กระเพาะที่ 2 กระเพาะที่ 2. เรียกว่า เรติคิวลัม ( Reticulum) หรือที่เราเรียกว่า กระเพาะผ้าขี้ริ้ว จะทำหน้าที่ขยอกเอาหญ้าที่จุลินทรีย์ช่วยย่อยมาแล้วในเบื้องต้นออกมาสู่ปาก เพื่อเคี้ยวอีกทีหนึ่ง เรียกว่า เคี้ยวเอื้อง ครับ แล้วหญ้าที่เคี้ยวเอื้องก็จะเคลื่อนไปสู่กระเพาะที่ 3 ต่อไป กระเพาะที่ 3. เรียกว่า โอมาซัม ( Omasum) หรือที่เราเรียกว่า กระเพาะสามสิบกลีบ ซึ่งภายในมีลักษณะเป็นแผ่นหลืบๆซ้อนกัน ทำหน้าที่กระจายอาหารให้เข้ากัน แล้วอาหารก็จะเคลื่อนไปสู่กระเพาะที่ 4 ต่อไปครับ กระเพาะที่ 4.

พยาธิใบไม้ มีทางเดินอาหารคล้ายพลานาเรีย แต่ทางเดินอาหารส่วนลำไส้ไม่แตกกิ่งก้านสาขา มีลักษณะคล้ายอักษรรูปตัววาย (Y–shape) ทางเดินอาหารของพยาธิใบไม้ประกอบด้วยปากปุ่มดูด (Oral sucker) ที่มีปากดูดกินอาหารจากโฮสต์ ต่อจากปากเป็นคอหอย (Pharynx) ต่อจากคอหอยเป็นหลอดอาหารสั้น ๆซึ่งจะต่อกับลำไส้ (Intestine) 3. พยาธิตัวตืด ไม่มีระบบทางเดินอาหาร เพราะอาหารที่ได้รับเข้าสู่ร่างกายส่วนใหญ่ถูกแปรสภาพเรียบร้อยแล้วโดยผู้ถูกอาศัย ใช้กระบวนการแพร่ของสารอาหารที่ย่อยแล้วเข้าสู่ร่างกาย 1.

การมีไส้ติ่งใหญ่ ไส้ติ่งของสัตว์กินพืชจะมีขนาดใหญ่ และเป็นบริเวณที่มีการย่อยอาหารโดยจุลินทรีย์ด้วย สำหรับไส้ติ่งของสัตว์กินเนื้อจะมีขนาดเล็กและไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยอาหาร